รู้จักกับแนวทางการศึกษาที่ผนวกความรู้ทางด้าน วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, วิศวกรรมศาสตร์, คณิตศาสตร์ และ การพัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่มีความสำคัญต่อการเตรียมความพร้อมสำหรับการเผชิญหน้ากับความท้าทายในโลกยุคใหม่ click! ที่นี่


ฝึกบวกเลขไปกับเกมสนุก ๆ ในร้านฟาสต์ฟู้ด! เด็ก ๆ จะสนุกกับการคำนวณและรู้สึกเหมือนเป็นมือโปร! click! ที่นี่

เกมคิดราคาอาหารร้าน fast food


ป้ายโฆษณา

ป้ายโฆษณา

ก่อนซื้อโทรศัพท์มือถือ หรือคอมพิวเตอร์มือสอง ตรวจ S/N ที่แจ้งหาย/ถูกขโมยที่นี่!! BlockSerial.Com
คุณกำลังหาหรืออยากได้อะไรใน karn.tvclick ที่นี่!

ที่มาของเครื่องหมาย + - x ÷

พิมพ์อีเมล

( 15 Votes )

ที่มาของเครื่องหมาย + - x ÷

ทำไม…การหารจึงใช้เครื่องหมาย ÷

       สัญลักษณ์ ÷ ได้ถูกนำมาใช้โดย จอห์น  วอลลิส  ( John Wallis 1616 – 1703 )ในประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา แต่ไม่แพร่หลายในทวีปยุโรป เพราะใช้เครื่องหมายโครอน ( : ) กันจนชินแล้ว
  
      ในปี 1923 คณะกรรมการแห่งชาติเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ในสหรัฐอเมริกากล่าวว่าเครื่องหมาย หาร    (÷) และเครื่องหมายโครอน ( : ) ไม่ได้ถูกนำมาใช้ในชีวิตธุรกิจ  แต่ใช้ในวิชาพีชคณิตเท่านั้น  จึงได้มีการนำเครื่องหมายเศษส่วน ( / ) มาใช้แทนเครื่องหมายหาร   (÷)
           อ้างอิงจากรายงาน  National Committee on Mathematical Requirement ของ Mathematical Association of America,Inc( 1923,P 81 ) 

 เครื่องหมายคูณ มีกี่แบบ

         คำว่า Multiply มาจากคำว่า Multiplicare  เป็นภาษาละติน   ซึ่ง หมายถึง  การมีค่าเพิ่มมากขึ้นเป็นทวีคูณ  นักคณิตศษสตร์ Oughtred เป็นคนคิดเครื่องหมายคูณเป็นรูป x ในปี1631   ต่อมา Harriot  แนะนำให้ใช้เครื่องหมายจุด  .  ในปีเดียวกัน 
   ในปี  ค.ศ. 1698 Leibniz    เขียนถึง  Bernoulli  ว่า     “ ฉันใช้ x เป็นสัญลักษณ์ในการคูณ     มันสับสนกับตัวX บ่อยครั้ง ฉันจึงใช้สัญลักษณ์ง่ายๆ คือ   . (จุด) ” 
   ปัจจุบันนี้การคูณใช้เครื่องหมาย 3 แบบได้แก่   3xa หรือ   3.a หรือ (3)a หรือการวางชิดกันคือ 3a

  ทำไม…การบวกจึงใช้เครื่องหมาย
      ว่าบวกมาจากภาษาละตินว่า adhere ซึ่งหมายความว่าใส่เข้าไป ”  Widman เป็นคนแรกที่คิดใช้เครื่องหมาย  “ + ” และ “ - ”      
ในปี 1489  เขากล่าวว่า    -  คือ minus และ + คือ more เชื่อกันว่าสัญลักษณ์   “ +มาจากภาษา

ละติน et  แปลว่า “ และ ”
 

ที่มา : ศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี


ขอขอบคุณ : http://www.csip.org